Get Adobe Flash player

สมัครสมาชิก

ใบทะเบียนการค้า

ติดต่อเราได้ที่

mod_thai25clock

ม้วน ม้วน

เช็คพัสดุสินค้า

ตัวนับสถิติ

381697
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่แล้ว
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
รวม
149
79
531
380602
2638
3710
381697

Your IP: 3.236.57.1
2024-03-29 15:32
  • 10253837_278951362282017_7219513433480142396_n.jpg
  • 970696_157276311133423_722949653_n.jpg
  • 971264_133898940143555_1145482210_n.jpg
  • DSC07328.JPG
  • DSC07285.JPG
  • 1555282_512936305487560_337101718_n.jpg
  • 383221_117175211815928_1623287005_n.jpg
  • 397019_152298104964577_1053089849_n.jpg
  • 5465454.jpg
  • 388466_118484128266115_437737980_n.jpg

""ร้านสืบศักดิ์การดนตรี""ผลิตเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสานที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของบ้านท่าเรือทุกชนิด และเป็นหมู่บ้านเเหล่งผลิตใหญ่ที่สุดในโลก

thzh-CNdanlentlfrdehihuiditjakonofaptruessvtrvi

ประวัติแคนบ้านท่าเรือ

              ประวัตินายคำโลน หรือนายโลน แสนสุริยวงค์ ช่างทำแคนคนแรกนายคำโลน หรือนายโลน แสนสุริยวงค์ ทำแคน ดี ดังสวย ชาวบ้านเลยตั้งชื่อเพิ่มใหม่เป็น (ฟ้าคำโลน) เป็นบุตรของนายชิน นางมั่น แสนสุริยวงค์ เกิดเมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2451 ที่บ้านยอดชาติ อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม เมื่ออายุยังเด็กได้เดินทางติดตามคุณพ่อคุณแม่ มาอยู่ที่บ้านหนองแต้ (บ้านท่าเรือปัจจุบัน) อำเภอนาหว้า เมื่ออายุได้ 15 ปี ก็ได้กลับคืนไปอยู่บ้านเดิมที่อำเภอนาแก และได้ชวนพรรคพวกไปด้วยกัน 2 คน คือนายลอง นายไกร แมดมิ่งเหง้า ขณะที่อยู่บ้านทั้ง 3 คน ได้เล่าเรียนวิชาเป่าแคนดนตรี

จากนายเสน แสนสุริยวงค์ ซึ่งเป็นพี่ชายของนายโลน แสนสุริยวงค์ นายเสน แสนสุริยวงค์ได้เล่าเรียนวิชาทำปี่ทำแคนดนตรีอีสานมาจากช่างแถวภูไม้ล้ม จากประเทศลาว โดยที่นายเสน แสนสุริยวงศ์ เป็นผู้นำมา ทั้ง 2 คนก็ได้เรียนฝึกวิชาช่างแคนทำปี่ จนเป็นที่เชี่ยวชาญ ชำนาญการแล้ว ทั้ง 2 คนก็ได้กลับคืนมาอยู่ที่บ้านหนองแต้ (บ้านท่าเรือ) อำเภอนาหว้า ก็ได้ทำปี่ ทำแคนเป็นอาชีพหลักจนเป็นที่ยอมรับของคนทั้งหมู่บ้าน ตั้งแต่นั้นมาจึงทำการสอนประสิทธิประสาทวิชาการทำปี ทำแคนให้แก่ลูกหลานเพื่อนฝูง โดยมีการมีการยกอ้อยอครูคนละ 12 บาท หรือเรียกเป็นภาษาอีสานว่า ตั้งคาย 

           ต่อมาชาวบ้านก็ได้มีการไปศึกษาวิชาแคนจากอาจารย์ที่เก่งๆในสมัยจากบ้านพนอม ตำบลธาตุ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ของคนในชุมชน  หลังจากนั้นไม่นานช่างโลนก็ได้มีภรรยา ชื่อนางแดง และมีบุตรชายด้วยกัน 1 คน ชื่อนายทองคำ หรือ (ฟ้าคำยาน) ที่ชาวบ้านใช้เรียกขานอีกชื่อหนึ่ง ในขณะที่มีชีวิตได้สร้างคุณงามความดีไว้ให้แก่ลูกหลาน โดยเฉพาะการทำแคน และอาจารย์สอนแคนให้ชาวบ้านจนโด่งดัง สร้างรายได้ให้แก่ชาวบ้านทุก ครอบครัว เฉลี่ยเดือนละ 2,000 บาท ต่อครัวเรือน ขณะถึงแก่กรรม เมื่อปี พ.ศ. 2523 ขณะที่มีอายุได้ 82

                              

 

                                  

                      

 

สนใจสินค้าติดต่อที่...  0894226683        สนใจสินค้าติดต่อที่...  0894226683